อธิบดีณัฐพล ล่องใต้ ลุยฝึกอาชีพชาวสงขลา พัฒนาทักษะขายออนไลน์ – ปั้นสินค้าอัตลักษณ์คาดฟื้นเศรษฐกิจฐานรากและสร้างรายได้เสริมเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 65
จ. สงขลา 23 พฤษภาคม 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ลงใต้ลุยฝึกอาชีพชาวชุมชนจังหวัดสงขลา ผ่านโครงการ "DIPROM ยกระดับสินค้าชุมชน กระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก นำสู่รายได้คืนถิ่นชุมชน" หลักสูตรฝึกอาชีพระยะสั้น โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมทักษะอาชีพที่จำเป็น และเป็นความต้องการของชุมชน ผ่านการฝึกฝนทักษะการร้อยลูกปัดมโนราห์ และการเพ้นท์กระเป๋าผ้า โดยสามารถต่อยอดเป็นอาชีพมั่นคงได้ ภายใต้นโยบายดีพร้อมแคร์ (DIPROM CARE) ปฏิรูปการดำเนินงานเพื่อสร้างความยั่งยืน มุ่งเน้นการเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยคาดว่าจะฟื้นเศรษฐกิจฐานรากและสร้างรายได้เสริมให้ชุมชนเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 65
อย่างไรก็ดี ดีพร้อม ยังได้เดินหน้าต่อเนื่องในการยกระดับการส่งเสริมพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานกลับถิ่นเป็นจำนวนมาก อีกทั้ง ยังเป็นการวางรากฐานทักษะไปสู่การประกอบอาชีพ รวมทั้งการต่อยอดธุรกิจใหม่ ซึ่งดีพร้อมมุ่งมั่นสนับสนุนในทุกกระบวนการตั้งแต่การพัฒนาโมเดลธุรกิจไปจนถึงกระบวนการจัดจำหน่ายในทุกแพลตฟอร์ม เพื่อให้เกิดการเข้าถึงรายได้ที่ยั่งยืน ดร.ณัฐพล กล่าวทิ้งท้าย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โทรศัพท์ 0 2430 6865-66 ต่อ 4 ติดตามข้อมูลข่าวสารและความเคลื่อนไหวได้ที่ www.facebook.com/dipromindustry หรือ www.diprom.go.th
ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ดีพร้อม (DIPROM) หรือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โดยศูนย์ดีพร้อมเซ็นเตอร์ 11 (DIPROM CENRTER 11) ได้เดินหน้าส่งเสริมและสนับสนุน
การฝึกทักษะอาชีพให้กับชุมชนในพื้นที่ ภายใต้นโยบายดีพร้อมแคร์ (DIPROM CARE) รุดสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากทุกพื้นที่ทั่วไทยให้ดีพร้อม โดยมุ่งเน้นการปรับรูปแบบการดำเนินการให้สอดคล้อง
กับสภาพชุมชน (C-Customization) รวมทั้งปฏิรูปแนวทางการดำเนินงาน (R-Reformation) โดยจัดทีมผู้เชี่ยวชาญลงพื้นที่ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการและชุมชน ทั้งด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์
การขยายช่องทางจัดจำหน่ายสินค้าทั้งออฟไลน์และออนไลน์ ตลอดจนการให้คำปรึกษาด้านการวางแผน
เส้นทางท่องเที่ยวให้กับชุมชน
การฝึกทักษะอาชีพให้กับชุมชนในพื้นที่ ภายใต้นโยบายดีพร้อมแคร์ (DIPROM CARE) รุดสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากทุกพื้นที่ทั่วไทยให้ดีพร้อม โดยมุ่งเน้นการปรับรูปแบบการดำเนินการให้สอดคล้อง
กับสภาพชุมชน (C-Customization) รวมทั้งปฏิรูปแนวทางการดำเนินงาน (R-Reformation) โดยจัดทีมผู้เชี่ยวชาญลงพื้นที่ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการและชุมชน ทั้งด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์
การขยายช่องทางจัดจำหน่ายสินค้าทั้งออฟไลน์และออนไลน์ ตลอดจนการให้คำปรึกษาด้านการวางแผน
เส้นทางท่องเที่ยวให้กับชุมชน
ดร.ณัฐพล กล่าวว่า จังหวัดสงขลา ถือเป็นจุดหมายสำคัญของการส่งเสริมเศรษฐกิจในพื้นที่ภาคใต้
ด้วยศักยภาพของพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ทั้งยังเป็นเมืองท่าสำหรับการคมนาคมทางน้ำ
อีกทั้ง อุดมไปด้วยขนมธรรมเนียมประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นต้นทุนเดิมที่มีคุณภาพ โดยดีพร้อมได้ต่อยอดส่งเสริมหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ หรือ หมู่บ้าน CIV ในพื้นที่
ชุมชนเกาะยอ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา และวิสาหกิจชุมชนคลองแดนพัฒนา ตำบลคลองแดน
อำเภอระโนด ด้วยการพัฒนาผู้ประกอบการชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีศักยภาพ โดยการนำอัตลักษณ์หรือจุดเด่นของชุมชน มาประยุกต์สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของฝากของที่ระลึก ซึ่งในส่วนของการพัฒนาคนเพื่อให้ชุมชนดีพร้อม ได้ดำเนินโครงการ "DIPROM ยกระดับสินค้าชุมชน กระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก นำสู่รายได้คืนถิ่นชุมชน" ซึ่งเป็นการฝึกทักษะอาชีพให้กับชาวชุมชน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าร่วมกว่า 200 คน และคาดว่าจะฟื้นเศรษฐกิจฐานรากและสร้างรายได้เสริมให้ชุมชนเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 65 ประกอบด้วย
· ฝึกอบรมการทำตลาด Online เป็นการอบรมทักษะการทำตลาดออนไลน์ให้ยั่งยืน โดยมุ่งเน้น
การปูพื้นฐานสำหรับชาวชุมชนทั่วไปที่ยังขาดทักษะในส่วนนี้ให้เข้าใจกลไกของการทำการตลาด
ในแพลตฟอร์มออนไลน์และแพลตฟอร์มต่าง ๆ ที่เปิดให้ใช้งาน พร้อมฝึกฝนวิธีการใช้งานเบื้องต้น
ในการสร้าง Facebook Fan Page เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การขยายผมการอบรมในเชิงให้สามารถ
ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
· การฝึกอบรมการทำลูกปัดมโนราห์ งานศิลปะทรงคุณค่า ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งผู้ผลิตจำเป็น
ต้องเข้าใจในการเลือกลวดลาย สีสันของลูกปัด เพื่อสื่อสารให้ลูกค้าซึ่งคนนอกพื้นที่ที่ไม่รู้จักมโนราห์ได้มาเห็นความเป็นศิลปะซึ่งสามารถต่อยอดไปสู่การทำ สร้อยคอ สายคล้องแมส และ สายคล้องแว่น โดยผู้เข้าอบรมจะสามารถพัฒนารูปแบบและลวดลายที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค
แต่ยังสามารถคงกลิ่นอายวัฒนธรรมประจำถิ่นได้เป็นอย่างดี
· การฝึกอบรมการทำกระเป๋าผ้าดิบ โดยมุ่งเน้นการตกแต่งลวดลาย ทั้งการเพ้นท์ลายบนกระเป๋าผ้าดิบ และการนำเศษผ้ามาตกแต่งเป็นลวดลายต่าง ๆ เป็นการใช้ทักษะความคิดสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่า
ให้กับผลิตภัณฑ์ ซึ่งหากผู้เข้าอบรมมีความชำนาญแล้ว ก็จะสามารถนำวัสดุอื่นในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ที่จะสะท้อนอัตลักษณ์ชุมชน และช่วยสร้างรายได้มั่นคงได้อีกทางหนึ่ง
ด้วยศักยภาพของพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ทั้งยังเป็นเมืองท่าสำหรับการคมนาคมทางน้ำ
อีกทั้ง อุดมไปด้วยขนมธรรมเนียมประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นต้นทุนเดิมที่มีคุณภาพ โดยดีพร้อมได้ต่อยอดส่งเสริมหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ หรือ หมู่บ้าน CIV ในพื้นที่
ชุมชนเกาะยอ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา และวิสาหกิจชุมชนคลองแดนพัฒนา ตำบลคลองแดน
อำเภอระโนด ด้วยการพัฒนาผู้ประกอบการชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีศักยภาพ โดยการนำอัตลักษณ์หรือจุดเด่นของชุมชน มาประยุกต์สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของฝากของที่ระลึก ซึ่งในส่วนของการพัฒนาคนเพื่อให้ชุมชนดีพร้อม ได้ดำเนินโครงการ "DIPROM ยกระดับสินค้าชุมชน กระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก นำสู่รายได้คืนถิ่นชุมชน" ซึ่งเป็นการฝึกทักษะอาชีพให้กับชาวชุมชน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าร่วมกว่า 200 คน และคาดว่าจะฟื้นเศรษฐกิจฐานรากและสร้างรายได้เสริมให้ชุมชนเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 65 ประกอบด้วย
· ฝึกอบรมการทำตลาด Online เป็นการอบรมทักษะการทำตลาดออนไลน์ให้ยั่งยืน โดยมุ่งเน้น
การปูพื้นฐานสำหรับชาวชุมชนทั่วไปที่ยังขาดทักษะในส่วนนี้ให้เข้าใจกลไกของการทำการตลาด
ในแพลตฟอร์มออนไลน์และแพลตฟอร์มต่าง ๆ ที่เปิดให้ใช้งาน พร้อมฝึกฝนวิธีการใช้งานเบื้องต้น
ในการสร้าง Facebook Fan Page เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การขยายผมการอบรมในเชิงให้สามารถ
ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
· การฝึกอบรมการทำลูกปัดมโนราห์ งานศิลปะทรงคุณค่า ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งผู้ผลิตจำเป็น
ต้องเข้าใจในการเลือกลวดลาย สีสันของลูกปัด เพื่อสื่อสารให้ลูกค้าซึ่งคนนอกพื้นที่ที่ไม่รู้จักมโนราห์ได้มาเห็นความเป็นศิลปะซึ่งสามารถต่อยอดไปสู่การทำ สร้อยคอ สายคล้องแมส และ สายคล้องแว่น โดยผู้เข้าอบรมจะสามารถพัฒนารูปแบบและลวดลายที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค
แต่ยังสามารถคงกลิ่นอายวัฒนธรรมประจำถิ่นได้เป็นอย่างดี
· การฝึกอบรมการทำกระเป๋าผ้าดิบ โดยมุ่งเน้นการตกแต่งลวดลาย ทั้งการเพ้นท์ลายบนกระเป๋าผ้าดิบ และการนำเศษผ้ามาตกแต่งเป็นลวดลายต่าง ๆ เป็นการใช้ทักษะความคิดสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่า
ให้กับผลิตภัณฑ์ ซึ่งหากผู้เข้าอบรมมีความชำนาญแล้ว ก็จะสามารถนำวัสดุอื่นในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ที่จะสะท้อนอัตลักษณ์ชุมชน และช่วยสร้างรายได้มั่นคงได้อีกทางหนึ่ง
ดร.ณัฐพล กล่าวเพิ่มเติมว่า นอกจากการฝึกทักษะอาชีพแล้ว การส่งเสริมอย่างเป็นรูปธรรม
ยังจำเป็นต้องเสริมทักษะอื่น ๆ โดยดีพร้อมได้จัดบูธกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้และเข้ารับการส่งเสริมเพิ่มเติม ได้แก่ บูธที่ 1 DIPROM Online Marketeer Service บริการให้คำแนะนำด้านการตลาดออนไลน์ บูธที่ 2ITC Service บริการให้คำปรึกษาแนะนำ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้ารวมถึงด้านมาตรฐาน ด้านการตลาด ด้านการเงิน ตลอดจนข้อมูลเครื่องจักรในกระบวนการผลิต กระบวนการฆ่าเชื้อ และกระบวนการบรรจุ บูธที่ 3 บริการด้านเงินทุน สำหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอี วิสาหกิจชุมชนและบูธที่ 4 คลัสเตอร์อาหารแปรรูปและคลัสเตอร์ผลไม้แปรรูป โดยมีผู้ประกอบในกลุ่มคลัสเตอร์มาให้คำปรึกษาสำหรับผู้ที่สนใจ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบธุรกิจ ซึ่งนอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินธุรกิจแล้ว ยังเป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ประกอบการเข้มแข็งในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมในพื้นที่
ยังจำเป็นต้องเสริมทักษะอื่น ๆ โดยดีพร้อมได้จัดบูธกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้และเข้ารับการส่งเสริมเพิ่มเติม ได้แก่ บูธที่ 1 DIPROM Online Marketeer Service บริการให้คำแนะนำด้านการตลาดออนไลน์ บูธที่ 2ITC Service บริการให้คำปรึกษาแนะนำ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้ารวมถึงด้านมาตรฐาน ด้านการตลาด ด้านการเงิน ตลอดจนข้อมูลเครื่องจักรในกระบวนการผลิต กระบวนการฆ่าเชื้อ และกระบวนการบรรจุ บูธที่ 3 บริการด้านเงินทุน สำหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอี วิสาหกิจชุมชนและบูธที่ 4 คลัสเตอร์อาหารแปรรูปและคลัสเตอร์ผลไม้แปรรูป โดยมีผู้ประกอบในกลุ่มคลัสเตอร์มาให้คำปรึกษาสำหรับผู้ที่สนใจ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบธุรกิจ ซึ่งนอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินธุรกิจแล้ว ยังเป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ประกอบการเข้มแข็งในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมในพื้นที่
อย่างไรก็ดี ดีพร้อม ยังได้เดินหน้าต่อเนื่องในการยกระดับการส่งเสริมพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานกลับถิ่นเป็นจำนวนมาก อีกทั้ง ยังเป็นการวางรากฐานทักษะไปสู่การประกอบอาชีพ รวมทั้งการต่อยอดธุรกิจใหม่ ซึ่งดีพร้อมมุ่งมั่นสนับสนุนในทุกกระบวนการตั้งแต่การพัฒนาโมเดลธุรกิจไปจนถึงกระบวนการจัดจำหน่ายในทุกแพลตฟอร์ม เพื่อให้เกิดการเข้าถึงรายได้ที่ยั่งยืน ดร.ณัฐพล กล่าวทิ้งท้าย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โทรศัพท์ 0 2430 6865-66 ต่อ 4 ติดตามข้อมูลข่าวสารและความเคลื่อนไหวได้ที่ www.facebook.com/dipromindustry หรือ www.diprom.go.th
ไม่มีความคิดเห็น